เพื่อให้ได้สีที่เป็นธรรมชาติจากแหล่งกำเนิดแสงที่แตกต่างกัน (ไวต์บาลานซ์)
ไวต์บาลานซ์
ไวต์บาลานซ์จะช่วยให้สีของภาพไม่ได้รับผลกระทบจากสีของแหล่งกำเนิดแสง ควรใช้การปรับไวต์บาลานซ์อัตโนมัติ (4) สำหรับแหล่งกำเนิดแสงส่วนใหญ่ หากไม่ได้ผลตามที่ต้องการเมื่อใช้ไวต์บาลานซ์อัตโนมัติ ให้เลือกตัวเลือกจากรายการด้านล่าง หรือใช้ไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเอง
-
ในโหมดอื่นนอกเหนือจาก P, S, A และ M กล้องจะปรับไวต์บาลานซ์ให้โดยอัตโนมัติตามฉาก
ตัวเลือก (K *) |
คำอธิบาย |
|
---|---|---|
4 [ ] |
กล้องจะปรับไวต์บาลานซ์ให้โดยอัตโนมัติเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดสำหรับแหล่งกำเนิดแสงส่วนใหญ่ เมื่อใช้ชุดแฟลชเสริมภายนอก ไวต์บาลานซ์จะถูกปรับตามแสงที่มาจากแฟลช |
|
i [ ] (3500–8000 K) |
กำจัดโทนสีอบอุ่นที่เกิดจากไฟของหลอดไส้ |
|
j [ ] (3500–8000 K) |
รักษาโทนสีอบอุ่นที่เกิดจากไฟของหลอดไส้ไว้เล็กน้อย |
|
k [ ] (3500–8000 K) |
รักษาโทนสีอบอุ่นที่เกิดจากไฟของหลอดไส้ |
|
D [ ] (4500–8000 K) |
เมื่อใช้ภายใต้แสงธรรมชาติ ตัวเลือกนี้จะสร้างสีที่ใกล้เคียงกับสีที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าที่สุด |
|
H [ ] (5200 K) |
ใช้กับวัตถุที่ได้รับแสงอาทิตย์โดยตรง |
|
G [ ] (6000 K) |
ใช้ถ่ายภาพตอนกลางวันในสภาพท้องฟ้ามีเมฆมากหรือมืดครึ้ม |
|
M [ ] (8000 K) |
ใช้ถ่ายภาพเวลากลางวันเมื่อวัตถุอยู่ในร่มเงา |
|
J [ ] (3000 K) |
ใช้ภายใต้แสงไฟแบบหลอดไส้ |
|
I [ ] |
ใช้ภายใต้แสงฟลูออเรสเซนต์; เลือกชนิดของหลอดไฟตามประเภทของแหล่งกำเนิดแสง |
|
[ ] (2700 K) |
||
[ ] (3000 K) |
||
[ ] (3700 K) |
||
[ ] (4200 K) |
||
[ ] (5000 K) |
||
[ ] (6500 K) |
||
[ ] (7200 K) |
||
5 [ ] (5400 K) |
ใช้กับแสงแฟลชสตูดิโอและชุดแฟลชขนาดใหญ่อื่นๆ |
|
K [ ] (2500–10000 K) |
เลือกอุณหภูมิสีจากรายการค่าที่มีหรือกดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งย่อย |
|
L [ ] |
วัดค่าไวต์บาลานซ์ของวัตถุหรือแหล่งกำเนิดแสง (กดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้เพื่อเข้าสู่โหมดการวัดโดยตรง, ตั้งค่าเอง ) คัดลอกไวต์บาลานซ์จากภาพถ่ายที่มี หรือเลือกจากค่าที่มีโดยการกดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งย่อย |
-
อุณหภูมิสี ค่าทั้งหมดเป็นค่าโดยประมาณและไม่ส่งผลต่อการปรับละเอียด (ถ้าเลือกไว้)
ข้อมูลภาพสำหรับภาพที่ถ่ายโดยใช้ไวต์บาลานซ์อัตโนมัติแสดงอุณหภูมิสีที่เลือกโดยกล้องในขณะที่มีการถ่ายภาพ ท่านสามารถใช้ข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลอ้างอิงเมื่อเลือกค่าสำหรับ [
]-
เพื่อดูข้อมูลการถ่ายภาพในระหว่างการแสดงภาพ ไปที่ [
] ในเมนูแสดงภาพแล้วเลือก [ ]
การเลือกตัวเลือกไวต์บาลานซ์
กดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งหลัก
หากมีตัวเลือกสำหรับการตั้งค่าที่เลือก สามารถเลือกได้โดยกดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งย่อย
4 ([ ]) อาจไม่ให้ผลลัพธ์ที่ต้องการเมื่อใช้กับชุดแฟลชสตูดิโอขนาดใหญ่ โปรดใช้ไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองหรือตั้งค่าไวต์บาลานซ์ไปที่ 5 ([ ]) แล้วใช้การปรับอย่างละเอียดเพื่อปรับค่าไวต์บาลานซ์
สามารถปรับไวต์บาลานซ์ได้ผ่านรายการ [
] ในเมนูถ่ายภาพและภาพยนตร์ได้เช่นกันD ([ ]) อาจไม่ให้ผลลัพธ์ที่ท่านต้องการภายใต้แสงประดิษฐ์ เลือก 4 ([ ]) หรือตัวเลือกที่ตรงกับแหล่งกำเนิดแสง
การปรับไวต์บาลานซ์แบบละเอียด
การใช้ปุ่ม
หากพิกัดปรากฏขึ้นตามที่แสดง ท่านสามารถกดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้แล้วใช้ปุ่มเลือกคำสั่งเพื่อปรับไวต์บาลานซ์แบบละเอียด
-
กดปุ่ม 4 หรือ 2 เพื่อปรับไวต์บาลานซ์แบบละเอียดบนแกนสีเหลืองอำพัน-สีน้ำเงินและ 1 หรือ 3 เพื่อปรับไวต์บาลานซ์แบบละเอียดบนแกนสีเขียว-สีม่วงแดง
-
การตั้งค่าที่เลือกไว้จะมีผลเมื่อปล่อยปุ่ม Q/g (U) แล้ว
การใช้เมนู
-
เลือก [2 เท่าที่จำเป็นเพื่อแสดงตัวเลือกปรับแบบละเอียด] ในเมนูถ่ายภาพ ไฮไลท์ตัวเลือกที่ต้องการ แล้วกดปุ่ม
สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับการปรับละเอียดไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเอง โปรดดู “การปรับไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองล่วงหน้าแบบละเอียด” (การปรับไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองแบบละเอียด)
-
การปรับไวต์บาลานซ์แบบละเอียด
-
ใช้ปุ่มเลือกคำสั่งเพื่อจัดตำแหน่งเคอร์เซอร์บนเส้นตาราง เคอร์เซอร์สามารถเลื่อนได้สูงสุดหกขั้นตอนจากกึ่งกลางไปตามแกน A (สีเหลืองอำพัน)–B (สีน้ำเงิน) และ G (สีเขียว)–M (สีม่วงแดง) ค่าที่เลือกจะปรากฏทางขวาของเส้นตาราง
-
แกน A (สีเหลืองอำพัน)–B (สีน้ำเงิน) จะสอดคล้องกับอุณหภูมิสีและถูกกำหนดให้เพิ่มขึ้นขั้นละ 0.5 การเปลี่ยนแปลง 1 ลำดับขั้นเทียบเท่าประมาณ 5 ไมเรด
-
แกน G (สีเขียว)–M (สีม่วงแดง) มีผลฟิลเตอร์ชดเชยสีที่คล้ายกันและถูกกำหนดให้เพิ่มขึ้นขั้นละ 0.25 การเปลี่ยนแปลง 1 ลำดับขั้นเทียบเท่าประมาณ 0.05 หน่วยความหนาแน่นแบบแพร่กระจาย
-
-
กดปุ่ม J
กดปุ่ม J เพื่อบันทึกการตั้งค่าและกลับไปที่เมนูถ่ายภาพ
หากต้องการดูตัวเลือกไวต์บาลานซ์ ให้ไฮไลท์ [i แล้วกดปุ่ม J หากเลือกตัวเลือกอื่นนอกจาก [ ] สามารถปรับไวต์บาลานซ์แบบละเอียดได้โดยการเลือกตัวเลือกแล้วกดปุ่ม 3 จนกว่าตัวเลือกการปรับอย่างละเอียดจะแสดงขึ้น ผลลัพธ์ของการปรับอย่างละเอียดจะแสดงตัวอย่างอยู่ในหน้าจอ
] ในเมนูสีบนแกนการปรับแบบละเอียดเป็นสีเชิงสัมพัทธ์ ไม่ใช่สีตายตัว ตัวอย่างเช่น การเลื่อนเคอร์เซอร์ไปที่ B (สีน้ำเงิน) เมื่อเลือกการตั้งค่าไวต์บาลานซ์เป็น “สีอบอุ่น” เช่น J ([ ]) จะทำให้ภาพถ่ายดู “เย็นลง” เล็กน้อย แต่จะไม่ทำให้กลายเป็นสีน้ำเงิน
การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่ทำต่ออุณหภูมิสีจะสร้างความแตกต่างที่อุณหภูมิสีต่ำได้มากกว่าที่อุณหภูมิสีสูง ตัวอย่างเช่น การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิไป 1000 K จะทำให้เกิดความแตกต่างในสีที่ 3000 K ได้มากกว่าที่ 6000 K มาก ค่าไมเรดซึ่งคำนวณโดยการนำ 106 คูณกับส่วนกลับของอุณหภูมิสีนั้น คือการวัดอุณหภูมิสีที่ได้คำนึงถึงความแปรผันดังกล่าวนี้ ดังนั้นจึงเป็นหน่วยที่ใช้ในฟิลเตอร์ชดเชยอุณหภูมิสี ตัวอย่าง:
-
4000 K–3000 K (ผลต่างเท่ากับ 1000 K)=83 ไมเรด
-
7000 K–6000 K (ผลต่างเท่ากับ 1000 K)=24 ไมเรด
การเลือกอุณหภูมิสี
การใช้ปุ่ม (สีเหลืองอำพัน–สีน้ำเงินเท่านั้น)
เพื่อปรับอุณหภูมิสีเมื่อเลือก [Q/g (U) ค้างไว้แล้วใช้ปุ่มเลือกคำสั่งหรือหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งย่อย
] ไว้สำหรับไวต์บาลานซ์ ให้กดปุ่ม-
กดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งย่อยเพื่อเลือกอุณหภูมิสีเป็นไมเรด
-
เพื่อไฮไลท์ตัวเลข ให้กดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้แล้วกดปุ่ม 4 หรือ 2 กดปุ่ม 1 หรือ 3 เพื่อแก้ไขตัวเลขที่ไฮไลท์ไว้
-
การเปลี่ยนแปลงจะมีผลเฉพาะกับแกน A (สีเหลืองอำพัน)–B (สีน้ำเงิน)
-
การตั้งค่าที่เลือกไว้จะมีผลเมื่อปล่อยปุ่ม Q/g (U) แล้ว
โปรดทราบว่ากล้องจะไม่ให้ผลลัพธ์ที่ต้องการเมื่อใช้แสงจากแฟลชหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ เลือก c ([ ]) หรือ I ([ ]) สำหรับแหล่งกำเนิดแสงเหล่านี้ สำหรับแหล่งกำเนิดแสงอื่นๆ ให้ถ่ายภาพทดสอบเพื่อพิจารณาว่าค่าที่เลือกเหมาะสมหรือไม่
สีที่เห็นจากแหล่งกำเนิดแสงจะแตกต่างกันออกไปตามสายตาของผู้มองและเงื่อนไขอื่นๆ อุณหภูมิสีคือการวัดเชิงวัตถุของสีจากแหล่งกำเนิดแสง โดยระบุการอ้างอิงกับอุณหภูมิที่ต้องใช้ในการทำให้วัตถุร้อนเพื่อให้แสงแผ่รังสีออกมาในความยาวคลื่นเดียวกัน ขณะที่แหล่งกำเนิดแสงที่มีอุณหภูมิสีในย่านใกล้เคียงกับ 5000–5500 K จะปรากฏเป็นสีขาว แต่แหล่งกำเนิดแสงที่มีอุณหภูมิสีต่ำกว่านั้น เช่น แสงจากหลอดไส้ จะปรากฏเป็นสีออกเหลืองหรือแดง (q) แหล่งกำเนิดแสงที่มีอุณหภูมิสีสูงกว่านี้จะมีโทนสีออกน้ำเงิน (w)
โดยทั่วไป ให้เลือกค่าที่ต่ำลงถ้าภาพถ่ายของท่านมีสีไปทางโทนแดงหรือต้องการให้สีของภาพเย็นลง เลือกค่าที่สูงขึ้นถ้าภาพของท่านมีสีไปทางโทนน้ำเงินหรือต้องการให้สีของภาพร้อนขึ้น
การใช้เมนู
สามารถเลือกอุณหภูมิสีได้โดยใช้ตัวเลือก [
] ในเมนูถ่ายภาพ ป้อนค่าแกนสีเหลืองอำพัน–สีน้ำเงิน และสีเขียว–สีม่วงแดง ตามที่อธิบายด้านล่าง-
เลือก [
]เลือก [2
] ในเมนูถ่ายภาพ จากนั้นไฮไลท์ [ ] แล้วกดปุ่ม -
เลือกค่าสำหรับสีเหลืองอำพัน–สีน้ำเงิน และสีเขียว–สีม่วงแดง
-
กดปุ่ม 4 หรือ 2 เพื่อไฮไลท์ตัวเลขบนแกนสีเหลืองอำพัน (A)–สีน้ำเงิน (B) แล้วกดปุ่ม 1 หรือ 3 เพื่อเปลี่ยนค่า
-
กดปุ่ม 4 หรือ 2 เพื่อไฮไลท์ค่าสำหรับแกนสีเขียว (G)–สีม่วงแดง (M) แล้วกดปุ่ม 1 หรือ 3 เพื่อเปลี่ยนค่า
-
-
กดปุ่ม J
-
กดปุ่ม J เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลงและกลับไปยังเมนูถ่ายภาพ
-
หากเลือกค่าอื่นที่ไม่ใช่ 0 สำหรับแกนสีเขียว (G)–สีม่วงแดง (M) เครื่องหมายดอกจัน (“U”) จะปรากฏถัดจากสัญลักษณ์ K
-
หากต้องการดูตัวเลือกไวต์บาลานซ์ ให้ไฮไลท์ [i แล้วกดปุ่ม J เมื่อเลือก [ ] ไว้ สามารถดูตัวเลือกอุณหภูมิสีได้โดยการกดปุ่ม 3
] ในเมนูตั้งค่าเอง
ฟังก์ชั่นตั้งค่าเองจะใช้เพื่อบันทึกและเรียกใช้การตั้งค่าไวต์บาลานซ์แบบกำหนดเองสำหรับการถ่ายภาพภายใต้สภาพแสงผสม หรือเพื่อชดเชยแหล่งกำเนิดแสงที่มีแสงสีเข้ม กล้องจะสามารถบันทึกค่าสำหรับไวต์บาลานซ์ที่ตั้งค่าเองได้ถึงหกค่า ตั้งแต่ d-1 ถึง d-6 ทั้งนี้ จะสามารถตั้งค่าไวต์บาลานซ์เองได้สองวิธี:
วิธี |
คำอธิบาย |
---|---|
การวัดโดยตรง |
วางวัตถุสีเทากลางหรือสีขาวไว้ภายใต้แสงที่จะใช้ในการถ่ายภาพและสำหรับให้กล้องวัดค่าไวต์บาลานซ์ (การถ่ายภาพโดยใช้ช่องมองภาพ) ระหว่างไลฟ์วิว จะสามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ในพื้นที่ที่เลือกของกรอบภาพได้ (ไวต์บาลานซ์เฉพาะจุด, ไลฟ์วิว (ไวต์บาลานซ์เฉพาะจุด) ) |
คัดลอกจากภาพที่มีอยู่ |
คัดลอกไวต์บาลานซ์จากภาพถ่ายในการ์ดหน่วยความจำ (การคัดลอกค่าไวต์บาลานซ์จากภาพ) |
การถ่ายภาพโดยใช้ช่องมองภาพ
ก่อนการวัดค่าไวต์บาลานซ์:
-
วางวัตถุสีเทากลางหรือสีขาวไว้ภายใต้สภาพแสงที่จะใช้ถ่ายภาพจริง ในการตั้งค่าสตูดิโอ สามารถใช้แผ่นสีเทามาตรฐาน 18% เป็นวัตถุอ้างอิงได้
-
โปรดทราบว่าค่าแสงจะเพิ่มขึ้นครั้งละ 1 EV โดยอัตโนมัติขณะวัดค่าไวต์บาลานซ์โดยใช้วัตถุสีเทากลางหรือสีขาวอ้างอิง ในโหมด M ให้ปรับค่าแสงเพื่อให้สัญลักษณ์แสดงค่าแสงแสดงเป็น ±0 ( สัญลักษณ์แสดงค่าแสง )
-
กดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้ แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งหลักเพื่อเลือก L
-
เลือกค่าที่ตั้งเอง
กดปุ่ม Q/g (U) แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งย่อยจนกระทั่งค่าไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเอง (d-1 ถึง d-6) ที่ต้องการปรากฏบนหน้าจอ
-
เลือกโหมดการวัดโดยตรง
-
ปล่อยปุ่ม Q/g (U) ชั่วครู่แล้วกดปุ่มซ้ำจนกว่าสัญลักษณ์ D ในแผงควบคุมและช่องมองภาพเริ่มกะพริบ
-
ในโหมดการวัดโดยตรง จุดโฟกัสจะเปลี่ยนไปที่เป้าหมายไวต์บาลานซ์ตามที่แสดงและอยู่ในกึ่งกลางของกรอบภาพ
-
-
ก่อนที่สัญลักษณ์ D จะหยุดกะพริบ ให้ถ่ายภาพวัตถุอ้างอิง
-
วางตำแหน่งวัตถุอ้างอิงในเป้าหมายไวต์บาลานซ์แล้วกดปุ่มกดชัตเตอร์ลงจนสุดเพื่อวัดค่าสำหรับไวต์บาลานซ์และเก็บไว้ในค่าที่ตั้งเองที่เลือกไว้ในขั้นตอนที่ 2
-
กล้องจะไม่บันทึกภาพถ่ายไว้; ท่านสามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ได้อย่างแม่นยำแม้ไม่ได้ปรับโฟกัสกล้อง
-
-
ตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้
-
ถ้ากล้องสามารถวัดค่าสำหรับไวต์บาลานซ์ได้ สัญลักษณ์ C จะกะพริบในแผงควบคุม ในขณะที่สัญลักษณ์ a จะกะพริบในช่องมองภาพ กดปุ่มกดชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่งเพื่อออกไปยังโหมดถ่ายภาพ
-
ถ้าสภาพแสงมืดหรือสว่างเกินไป กล้องอาจไม่สามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ได้ สัญลักษณ์ ba จะปรากฏขึ้นในแผงควบคุมและช่องมองภาพ ให้กดปุ่มกดชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่งเพื่อกลับไปยังขั้นตอนที่ 4 และวัดค่าไวต์บาลานซ์อีกครั้ง
-
ถ้าไม่มีการดำเนินการใดๆ ในระหว่างการถ่ายภาพโดยใช้ช่องมองภาพในขณะที่สัญลักษณ์กะพริบอยู่ โหมดการวัดโดยตรงจะสิ้นสุดลงตามเวลาที่เลือกไว้สำหรับการตั้งค่าแบบกำหนดเอง c2 [
]ไม่สามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองล่วงหน้าได้ในระหว่างการบันทึกภาพยนตร์เหลื่อมเวลา หรือขณะที่กำลังถ่ายภาพซ้อน
หากมีการป้องกันค่าที่ตั้งเองปัจจุบัน กล้องจะไม่สามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองล่วงหน้าได้; ความพยายามใดๆ ในการวัดค่าไวต์บาลานซ์สำหรับค่าที่ตั้งเองที่มีการป้องกันจะมีสัญลักษณ์ 3 กะพริบในแผงควบคุมและช่องมองภาพ
-
การเลือก [J
] สำหรับ [ ] ในเมนูถ่ายภาพจะแสดงค่าไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเอง; ไฮไลท์ค่าที่ตั้งเองแล้วกดปุ่ม -
หากค่าที่ตั้งเองที่เลือกไว้ในขณะนั้นไม่มีค่าใดๆ กล้องจะกำหนดค่าไวต์บาลานซ์เป็น 5200 K เท่ากับค่าของ [
]
การเลือกตั้งค่าเองสำหรับไวต์บาลานซ์ ให้แสดงเมนู i ไฮไลท์ [ ] แล้วกดปุ่ม J ค้างไว้เพื่อวางกล้องในโหมดการวัดโดยตรง
ไลฟ์วิว (ไวต์บาลานซ์เฉพาะจุด)
ในระหว่างไลฟ์วิว จะสามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ได้จากวัตถุสีขาวหรือสีเทาในพื้นที่ที่เล็กของกรอบภาพมากกว่าที่จะเป็นไปได้ในการถ่ายภาพโดยใช้ช่องมองภาพ ลดขั้นตอนการจัดเตรียมวัตถุอ้างอิงหรือการเปลี่ยนเลนส์ในระหว่างการถ่ายภาพเทเลโฟโต้
-
เมื่อวัดค่าไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองล่วงหน้าสำหรับการถ่ายภาพโดยใช้แฟลช ให้ใช้ช่องมองภาพตามที่อธิบายไว้ใน “การถ่ายภาพโดยใช้ช่องมองภาพ” (การถ่ายภาพโดยใช้ช่องมองภาพ)
-
กดปุ่ม Q/g (U) ค้างไว้ แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งหลักเพื่อเลือก L
-
เลือกค่าที่ตั้งเอง
กดปุ่ม Q/g (U) แล้วหมุนแป้นหมุนเลือกคำสั่งย่อยจนกระทั่งค่าไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเอง (d-1 ถึง d-6) ที่ต้องการปรากฏบนหน้าจอ
-
เลือกโหมดการวัดโดยตรง
ปล่อยปุ่ม Q/g (U) ชั่วครู่แล้วกดปุ่มซ้ำจนกว่าสัญลักษณ์ L ในหน้าจอจะเริ่มกะพริบ
-
ขณะที่สัญลักษณ์ L กะพริบ ให้วางตำแหน่งเป้าหมายไวต์บาลานซ์เฉพาะจุด (r) บนพื้นที่สีขาวหรือสีเทาของวัตถุ
-
การซูมเข้าพื้นที่รอบๆ เป้าหมาย (r) เพื่อการจัดตำแหน่งภาพที่แม่นยำมากขึ้น ให้กดปุ่ม X (T)
-
ท่านยังสามารถจัดตำแหน่งเป้าหมาย (r) ได้โดยแตะที่วัตถุบนหน้าจอ การแตะหน้าจอจะเป็นการวางตำแหน่งเป้าหมาย (r) และวัดค่าไวต์บาลานซ์ที่ตำแหน่งที่เลือก หลังจากวัดค่าไวต์บาลานซ์ ให้ดำเนินการไปยังขั้นตอนที่ 6
-
-
วัดค่าสำหรับไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองทั้งโดยการกดปุ่ม J หรือโดยการกดปุ่มกดชัตเตอร์ลงจนสุด
-
หากกล้องสามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ได้ ค่าใหม่จะแสดงขึ้นในหน้าจอ
-
หากกล้องไม่สามารถวัดค่าสำหรับไวต์บาลานซ์ได้ จะปรากฏข้อความขึ้นและกล้องจะกลับสู่ขั้นตอนที่ 4 วัดค่าไวต์บาลานซ์อีกครั้งหลังจากวางตำแหน่งเป้าหมายไวต์บาลานซ์ใหม่ (r) หรืออื่นๆ ที่คล้ายกัน
-
-
กดปุ่ม Q/g (U) เพื่อออกจากโหมดการวัดโดยตรง
สามารถดูไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองได้โดยการเลือก [
] สำหรับ [ ] ในเมนูถ่ายภาพหรือภาพยนตร์ ตำแหน่งของเป้าหมายที่ใช้เพื่อวัดค่าไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองจะแสดงบนค่าที่ตั้งที่บันทึกไว้ระหว่างไลฟ์วิว
ระยะเวลาที่สามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ได้คือเวลาที่กำหนดไว้ในการตั้งค่าแบบกำหนดเอง c4 [
] > [ ]ไม่สามารถวัดค่าไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองล่วงหน้าได้ขณะที่กำลังถ่ายภาพซ้อน
การคัดลอกค่าไวต์บาลานซ์จากภาพ
ถ้าต้องการเลือกใช้ค่าไวต์บาลานซ์จากภาพที่ถ่ายไว้แล้วเป็นค่าที่ตั้งเอง ให้ปฏิบัติตามขั้นตอนด้านล่าง
-
เลือก []
เลือก [2
] ในเมนูถ่ายภาพ จากนั้นไฮไลท์ [ ] แล้วกดปุ่ม -
เลือกปลายทาง
ไฮไลท์ค่าที่ตั้งเองปลายทาง (d-1 ถึง d-6) แล้วกดปุ่ม X (T)
-
เลือก เลือกภาพ
ไฮไลท์ [2
] แล้วกดปุ่ม -
ไฮไลท์ภาพต้นฉบับ
ไฮไลท์ภาพต้นฉบับ หากต้องการดูภาพที่ไฮไลท์แบบเต็มจอ ให้กดปุ่ม X (T) ค้างไว้
-
คัดลอกไวต์บาลานซ์
-
กดปุ่ม J เพื่อคัดลอกค่าไวต์บาลานซ์สำหรับภาพถ่ายที่ไฮไลท์ไว้ไปยังค่าที่ตั้งเองที่เลือกไว้
-
ถ้าภาพถ่ายที่ไฮไลท์มีคำอธิบาย คำอธิบายจะถูกคัดลอกไปยังคำอธิบายของค่าที่ตั้งเองที่เลือกไว้
-
ค่าที่ตั้งเองที่เลือกไว้สามารถปรับแบบละเอียดได้โดยเลือก [การปรับไวต์บาลานซ์แบบละเอียด)
] แล้วปรับไวต์บาลานซ์ตามที่ได้อธิบายไว้ใน “การปรับไวต์บาลานซ์แบบละเอียด” (การป้อนคำอธิบายรายละเอียดสูงสุดถึง 36 ตัวอักษร สำหรับไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองในปัจจุบัน ให้เลือก [การป้อนข้อความ)
] ในเมนูไวต์บาลานซ์ที่ตั้งเองล่วงหน้าแล้วป้อนความคิดเห็น (หากต้องการป้องกันไวต์บาลานซ์ที่ตั้งค่าเองในปัจจุบัน โปรดเลือก [J ค่าที่ตั้งเองที่ป้องกันไว้แล้วจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าได้
] ในเมนูไวต์บาลานซ์ที่ตั้งค่าเอง จากนั้นไฮไลท์ [ ] แล้วกดปุ่ม